หลังแผ่นดินไหว 28 มีนาคม 2568 ที่ผ่านมา หลายอาคารในไทย โดยเฉพาะในพื้นที่กรุงเทพฯ และภาคเหนือ เริ่มมีการตรวจสอบความเสียหาย ทั้งในส่วนที่เห็นชัด และในส่วนที่ “อาจมีแต่ยังไม่แสดงตัว”หนึ่งในเครื่องมือสำคัญที่ช่างและวิศวกรใช้ในการตรวจสอบความปลอดภัยของอาคารหลังเหตุการณ์แบบนี้ก็คือ “เครื่องทดสอบคอนกรีต” ในบทความนี้เราขอแชร์ในฐานะช่างตรวจสอบอาคาร ว่าเครื่องพวกนี้ช่วยอะไรได้บ้าง ตรวจแบบไหน แล้วมันเกี่ยวข้องยังไงกับความแข็งแรงของอาคารหลังแผ่นดินไหวที่หลายคนกังวล
ในปัจจุบันคนนิยมต่อเติมตกแต่งบ้านเก่าให้ดูใหม่ ดูสวยมีสไตล์ แต่เบื้องหลังการรีโนเวทบ้านนั้นจำเป็นต้องรู้ว่าในผนังมีอะไรซ่อนอยู่ แล้วจะรู้ได้ยังไง? วันนี้เราไปทำความรู้จัก BOSCH รุ่น D-TECT 200C อุปกรณ์ที่จะช่วยสแกนหาวัตถุในผนังกันค่ะ
กลับมาอีกครั้งกับ #มาตรฐาน101กับCST หลังจากได้รู้จักมาตรฐาน JIS กันไปแล้ว บทความนี้ CST จะแนะนำอีกมาตรฐานอุตสาหกรรมจากประเทศเยอรมนีซึ่งมีฉายาว่าเป็นพญาอินทรีแห่งเทคโนโลยีและวิศวกรรม เมืองดี สุราเด่น เน้นขาหมู เฟื่องฟูเทคโนโลยี! บอกเลยว่าใคร #ทีมเยอรมนี จะพลาดบทความนี้ไม่ได้เด็ดขาด
พลาสติก ถ้าพูดถึงคำนี้มีไม่กี่อย่างที่คนทั่วไปจะนึกถึง เช่น ขวดพลาสติก ถุงพลาสติก แต่รู้หรือไม่ว่าดินเองก็มีความเป็นพลาสติกนะ ขึ้นรถมาเลยยัยบ้านนอก! เราจะไปทำความรู้จักกับ Plastic Limit กัน
ยุคแห่งเทคโนโลยีแบบนี้ ถ้ามีบางอย่างที่ช่วยให้งานก่อสร้างมีความสะดวก รวดเร็ว แม่นยำ และที่สำคัญใช้งานได้ง่ายก็คงดี วันนี้ทาง CST จะขอนำเสนอเทคโนโลยีที่ช่วยให้คุณสามารถวางแนวได้อย่างง่ายดาย นั่นก็คือ Layout Robot หรือ หุ่นยนต์วางผังอัตโนมัตินั่นเอง!